หนึ่งในโจทย์ใหญ่ในการสร้างระบบบำนาญที่มั่นคง-ยั่งยืนคือการกำหนด ‘อายุเกษียณ’ แล้วไทยล่ะ… ถ้าอยากพัฒนาระบบบำนาญ ควรเพิ่มอายุเกษียณด้วยไหม? ชวนคุยชวนคิดในรายการ Policy What!
เคยคิดไหมว่าเราต้องทำงานไปจนถึงอายุเท่าไหร่ จะใช้ชีวิตวัยเกษียณยังไงถ้าไม่พึ่งพาลูกหลาน รัฐจะยังดูแลเราไหวไหมในสังคมที่ผู้สูงวัยมีมากขึ้นทุกที
เบี้ยผู้สูงอายุควรเป็นหลักประกันพื้นฐานในการดำรงชีวิตเมื่อถึงวัยชรา แต่เบี้ยผู้สูงอายุในไทยยังไม่สามารถทำให้ผู้สูงอายุบางส่วนพ้นจากเส้นความยากจนได้ รัฐควรจัดการเบี้ยผู้สูงอายุอย่างไรให้ทั่วถึง เพียงพอ และไม่เป็นภาระทางการคลัง
101 PUB ชวนวิเคราะห์ปัญหาของกลไกบำนาญที่พื้นฐานที่สุด-เป็นที่พึ่งพิงของผู้สูงอายุในวงกว้างที่สุดอย่าง ‘เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ’ พร้อมเสนอยกระดับเบี้ยสู่ ‘บำนาญขั้นต่ำ’ สร้างหลักประกันรายได้ยามเกษียณขั้นพื้นฐานที่ทั่วถึง-เพียงพอ
101 PUB ชวนคิดว่า ‘ถึงเวลาหรือยังที่ไทยจะเพิ่มอายุเกษียณ?’ ขึ้นจาก 60 ปี และ 55 ปี เพื่อพัฒนาระบบบำนาญ และลดความเสี่ยงยากจนยามชราอย่างยั่งยืน
101 PUB ชวนชม ทันโลก กับ ที่นี่ Thai PBS ฉัตร คำแสง ร่วมวิเคราะห์นโยบายเปลี่ยนเกณฑ์การจ่าย ‘เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ’ เป็นระบบมุ่งเป้า
ท่ามกลางการถกเถียงเรื่องการตัดเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 101 PUB ชวนทบทวนเหตุผลเชิงคุณค่าว่าทำไมบำนาญพึงเป็นสิทธิขั้นพื้นฐาน พร้อมขบคิดว่า การปรับเกณฑ์จ่ายเบี้ยละเมิดสิทธิเราหรือไม่?
101 PUB ชวนชม ฉัตร คำแสง ร่วมสนทนาเกี่ยวกับนโยบายสวัสดิการไทย จากเบี้ยผู้สูงอายุ ถึงสวัสดิการอื่นๆ ที่คนไทยควรได้รับ ใน 101 One-on-one
101 PUB ชวนคิดเรื่องการจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุแบบถ้วนหน้าและแบบคัดกรองผ่านมุมมองทางการคลัง แต่ละรูปแบบมีข้อดีข้อเสียอย่างไร
101 Public Policy Think Tank
ศูนย์ความรู้นโยบายสาธารณะเพื่อการเปลี่ยนแปลง
ศูนย์วิจัยนโยบายสาธารณะไทยในบริบทโลกใหม่ สร้างสรรค์ความรู้ด้านนโยบายสาธารณะที่มีคุณภาพ เพื่อเพิ่มพลังให้ประชาชนสามารถตัดสินใจอย่างดีที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ในเรื่องสำคัญที่มีความหมายต่อชีวิตส่วนตัว ครอบครัว และสังคม