ซึมเศร้า

Policy What! EP.18: นโยบายสุขภาพจิต นอกกรอบ ‘การแพทย์’

แค่เพิ่มจิตแพทย์ เพิ่มการเข้าถึงบริการ เพียงพอแล้วหรือยังกับการดูแลสุขภาพใจคนไทย นโยบายรัฐต้องคิดถึงอะไรอีกบ้างเพื่อแก้วิกฤต ‘ซึมเศร้า’ ให้ถึงรากปัญหา ติดตามรับฟังในรายการ Policy What!

ความเสี่ยงซึมเศร้า ติดตัวเรามาตั้งแต่เกิด?

ความเสี่ยงซึมเศร้า ติดตัวเรามาตั้งแต่เกิด?

ความเข้มแข็ง-อ่อนแอในจิตใจคนเราเริ่มขึ้นตั้งแต่เมื่อไหร่ เราฝึกฝนกำหนดใจเราเองได้แค่ไหน? นโยบายของรัฐควรมีบทบาทอย่างไรกับปัจจัยที่เกินการควบคุมของปัจเจกบุคคล?

กินยาต้านเศร้า vs เข้าวัดปฏิบัติธรรม: สองทางที่เลือกไม่ค่อยได้ของคนซึมเศร้า

เยียวยาจิตใจด้วยชีวการแพทย์ด้านเดียวอาจไม่พอและไม่ยั่งยืน แต่ทางเลือกอื่น เช่น การพบนักจิตวิทยาการปรึกษาก็ยังเป็นเรื่องยากในประเทศไทย

ฤดูไหนที่คนไทยซึมเศร้า? เช็กสุขภาพใจคนไทยประจำปี 2024

คนไทยเสี่ยงซึมเศร้ามากขึ้น 3.4 เท่าในช่วงเดือนกรกฎาคม-ตุลาคมของทุกปี นโยบายในปัจจุบันรับมือกับวิกฤตสุขภาพจิตได้แล้วหรือยัง?

เห็นตัวเลข ไม่เห็นหัวใจ สถิติสุขภาพจิตไทยที่ต้องทบทวน

เด็กไทยป่วยซึมเศร้า คิดฆ่าตัวตายตั้งแต่วัย 11 ขวบ แต่นิยาม ‘ผู้ป่วยซึมเศร้า’ ของไทยกลับเริ่มต้นที่ ‘ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป’ รอจนเป็นโรคจิตเวชผู้ใหญ่อาจสายเกินแก้

สุขภาพใจที่อยู่ไกลเกินเอื้อมของเด็กและวัยรุ่นไทย

สำรวจแผนที่ความเหลื่อมล้ำด้านการดูแลสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น – ใน 17 จังหวัด ยังไม่มีจิตแพทย์ที่เชี่ยวชาญเด็กและวัยรุ่นประจำอยู่เลย!

101 Public Policy Think Tank
ศูนย์ความรู้นโยบายสาธารณะเพื่อการเปลี่ยนแปลง

ศูนย์วิจัยนโยบายสาธารณะไทยในบริบทโลกใหม่ สร้างสรรค์ความรู้ด้านนโยบายสาธารณะที่มีคุณภาพ เพื่อเพิ่มพลังให้ประชาชนสามารถตัดสินใจอย่างดีที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ในเรื่องสำคัญที่มีความหมายต่อชีวิตส่วนตัว ครอบครัว และสังคม

Copyright © 2024 101pub.org | All rights reserved.