สุขภาพจิต

งานเสวนา ‘เปิดเส้นทางใหม่ นโยบายเด็กและครอบครัวไทย’

Research Roundup 2024 งานเสวนาเปิดตัวงานวิจัยใหม่ 4 ชิ้น ของศูนย์ความรู้นโยบายเด็กและครอบครัว

19 July 2024
บาดแผลรัฐประหารในบ้าน: 10 ปีของการใช้ครอบครัวเป็นเครื่องมือกดปราบประชาชน

บาดแผลรัฐประหารในบ้าน: 10 ปีของการใช้ครอบครัวเป็นเครื่องมือกดปราบประชาชน

รัฐบีบคั้นและแทรกแซงความสัมพันธ์ในครอบครัวคนไทยตลอด 10 ปีที่ผ่านมา และยังคงสืบทอดวิธีการเช่นนั้นมากระทั่งภายหลังการเลือกตั้งครั้งล่าสุด

กินยาต้านเศร้า vs เข้าวัดปฏิบัติธรรม: สองทางที่เลือกไม่ค่อยได้ของคนซึมเศร้า

เยียวยาจิตใจด้วยชีวการแพทย์ด้านเดียวอาจไม่พอและไม่ยั่งยืน แต่ทางเลือกอื่น เช่น การพบนักจิตวิทยาการปรึกษาก็ยังเป็นเรื่องยากในประเทศไทย

ฤดูไหนที่คนไทยซึมเศร้า? เช็กสุขภาพใจคนไทยประจำปี 2024

คนไทยเสี่ยงซึมเศร้ามากขึ้น 3.4 เท่าในช่วงเดือนกรกฎาคม-ตุลาคมของทุกปี นโยบายในปัจจุบันรับมือกับวิกฤตสุขภาพจิตได้แล้วหรือยัง?

The Active – Policy Forum: นโยบายสุขภาพจิต

สรัช สินธุประมา ร่วมวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางออกแบบระบบดูแลสุขภาพจิตคนไทยใน Policy Forum โดย The Active

Youth Policy นโยบายการศึกษาผ่านสายตา ‘เด็กสมัยนี้’

‘Youth Policy Lab’ ชวนเยาวชนมาออกแบบนโยบายการศึกษาของกรุงเทพฯ ด้วย Systems Thinking และ Design Thinking เพื่อให้นโยบายตอบโจทย์เยาวชนเจ้าของปัญหาได้ดียิ่งขึ้นกว่าเดิม

7 July 2023

เช็กสุขภาพประเทศไทย ผ่าน 12 ภาพ ผลงาน 101 PUB

ชวนเช็กสุขภาพประเทศไทยผ่าน 12 ภาพผลงาน 101 PUB ที่ชี้ปัญหาใหญ่ประเทศ ทั้งมิติการบริหารจัดการ คุณค่า และความสัมพันธ์เชิงอำนาจ

101 In Focus Ep.166: ทำอย่างไรเมื่อคนป่วยซึมเศร้าเพิ่ม แต่จิตแพทย์ขาดแคลน

101 In Focus คุยกันเรื่องระบบบริการสุขภาพจิตของไทย ชวนตั้งคำถามและหาคำตอบว่า ปัญหาโรคซึมเศร้าไทยรุนแรงแค่ไหน กระทบต่อเยาวชนอย่างไร เราขาดแคลนบุคลากรแค่ไหน และระบบบริการสุขภาพจิตที่ดีควรเป็นอย่างไร

รับสมัครเยาวชนกรุงเทพฯ เข้าร่วม Youth Policy Lab โดย คิด for คิดส์

101 PUB ชวนเยาวชนกรุงเทพฯ อายุ 15-25 ปี สมัครเข้าร่วม ‘Youth Policy Lab’ – เรียนรู้-ลงมือทำกระบวนการ Design Thinking และ Systems Thinking เพื่อออกแบบ-สร้างสรรค์นโยบายมาแก้ปัญหาของเยาวชนกรุงเทพฯ

16 February 2023
ดูแลหัวใจไม่ให้ใครร่วงหล่น: เปลี่ยนระบบบริการสุขภาพจิตให้เข้าถึงง่ายและทันท่วงที

ดูแลหัวใจไม่ให้ใครร่วงหล่น: เปลี่ยนระบบบริการสุขภาพจิตให้เข้าถึงง่ายและทันท่วงที

เมื่อพูดถึงโรคซึมเศร้า เรื่องที่มักถูกยกขึ้นมาพูดต่อคือปัญหาขาดแคลนจิตแพทย์ แต่เราต้องมีจิตแพทย์เพิ่มอีกกี่คนจึงจะนับว่าพอ? มีอีกหลายคำถามที่ควรสงสัยและหาคำตอบถ้าหากเราปรารถนาจะดูแลสุขภาพใจของคนไทยไม่ให้ร่วงหล่นไปมากกว่านี้

ทำไมพยาบาลจิตเวชถึงไม่มีเวลาทำงานจิตเวช?

พยาบาลจิตเวชกว่า 4 พันคนทั่วประเทศ คือกำลังหลักของการดูแลสุขภาพจิตคนไทย แต่ส่วนใหญ่กลับไม่ได้ทำงานจิตเวชเต็มที่ เพราะมีภาระงานอื่นรอบด้าน

เห็นตัวเลข ไม่เห็นหัวใจ สถิติสุขภาพจิตไทยที่ต้องทบทวน

เด็กไทยป่วยซึมเศร้า คิดฆ่าตัวตายตั้งแต่วัย 11 ขวบ แต่นิยาม ‘ผู้ป่วยซึมเศร้า’ ของไทยกลับเริ่มต้นที่ ‘ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป’ รอจนเป็นโรคจิตเวชผู้ใหญ่อาจสายเกินแก้

1

101 Public Policy Think Tank
ศูนย์ความรู้นโยบายสาธารณะเพื่อการเปลี่ยนแปลง

ศูนย์วิจัยนโยบายสาธารณะไทยในบริบทโลกใหม่ สร้างสรรค์ความรู้ด้านนโยบายสาธารณะที่มีคุณภาพ เพื่อเพิ่มพลังให้ประชาชนสามารถตัดสินใจอย่างดีที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ในเรื่องสำคัญที่มีความหมายต่อชีวิตส่วนตัว ครอบครัว และสังคม

Copyright © 2024 101pub.org | All rights reserved.