Policy What! EP.5: ทำอย่างไรให้ ‘เบี้ยสูงอายุ’ ถ้วนหน้าได้ ยั่งยืนด้วย

เคยคิดไหมว่าเราต้องทำงานไปจนถึงอายุเท่าไหร่ จะใช้ชีวิตวัยเกษียณยังไงถ้าไม่พึ่งพาลูกหลาน รัฐจะยังดูแลเราไหวไหมในสังคมที่ผู้สูงวัยมีมากขึ้นทุกที 101 PUB ชวนคุยเรื่องบำนาญในฐานะ ‘สิทธิขั้นพื้นฐาน’ ที่ประชาชนควรเข้าถึงได้อย่างถ้วนหน้า เพียงพอ และมั่นคง ในรายการ Policy What!

เปลี่ยนนโยบายอะไรวะ เป็นนโยบายสาธารณะที่คุณเข้าใจได้!

ดำเนินรายการโดย
อินทร์แก้ว โอภานุเคราะห์กุล กองบรรณาธิการ The101.world และ
วรดร เลิศรัตน์ นักวิจัย 101 PUB

ติดตามรายการได้ที่

อ่านเพิ่มเติม:
👴🏻เปลี่ยนเบี้ยผู้สูงอายุเป็น ‘บำนาญขั้นต่ำ’: สร้างหลักประกันรายได้ยามเกษียณที่ยั่งยืน

บทความที่เกี่ยวข้อง

เปลี่ยนเบี้ยผู้สูงอายุเป็น 'บำนาญขั้นต่ำ': สร้างหลักประกันรายได้ยามเกษียณที่ยั่งยืน

เปลี่ยนเบี้ยผู้สูงอายุเป็น ‘บำนาญขั้นต่ำ’: สร้างหลักประกันรายได้ยามเกษียณที่ยั่งยืน

101 PUB ชวนวิเคราะห์ปัญหาของกลไกบำนาญที่พื้นฐานที่สุด-เป็นที่พึ่งพิงของผู้สูงอายุในวงกว้างที่สุดอย่าง ‘เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ’ พร้อมเสนอยกระดับเบี้ยสู่ ‘บำนาญขั้นต่ำ’ สร้างหลักประกันรายได้ยามเกษียณขั้นพื้นฐานที่ทั่วถึง-เพียงพอ

บำนาญเป็นสิทธิพื้นฐานของทุกคน: ว่าด้วยเหตุผลเชิงคุณค่า

บำนาญเป็นสิทธิพื้นฐานของทุกคน: เหตุผลเชิงคุณค่าของบำนาญ กับการปรับเกณฑ์จ่ายเบี้ยผู้สูงอายุ

ท่ามกลางการถกเถียงเรื่องการตัดเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 101 PUB ชวนทบทวนเหตุผลเชิงคุณค่าว่าทำไมบำนาญพึงเป็นสิทธิขั้นพื้นฐาน พร้อมขบคิดว่า การปรับเกณฑ์จ่ายเบี้ยละเมิดสิทธิเราหรือไม่?

ถึงเวลาเพิ่มอายุเกษียณ แก้จนยามแก่ สร้างระบบบำนาญยั่งยืน?

ถึงเวลาเพิ่มอายุเกษียณ แก้จนยามแก่ สร้างระบบบำนาญยั่งยืน?

101 PUB ชวนคิดว่า ‘ถึงเวลาหรือยังที่ไทยจะเพิ่มอายุเกษียณ?’ ขึ้นจาก 60 ปี และ 55 ปี เพื่อพัฒนาระบบบำนาญ และลดความเสี่ยงยากจนยามชราอย่างยั่งยืน

101 Public Policy Think Tank
ศูนย์ความรู้นโยบายสาธารณะเพื่อการเปลี่ยนแปลง

ศูนย์วิจัยนโยบายสาธารณะไทยในบริบทโลกใหม่ สร้างสรรค์ความรู้ด้านนโยบายสาธารณะที่มีคุณภาพ เพื่อเพิ่มพลังให้ประชาชนสามารถตัดสินใจอย่างดีที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ในเรื่องสำคัญที่มีความหมายต่อชีวิตส่วนตัว ครอบครัว และสังคม

Copyright © 2024 101pub.org | All rights reserved.