ชวนสำรวจแนวคิดในการกำกับดูแลอาชีพนักดูแลจิตใจทั่วโลก ทำความเข้าใจข้อจำกัด และข้อควรระวังของมาตรการแต่ละแบบ เพื่อออกแบบนโยบายกำกับดูแลที่เหมาะสมกับประเทศไทยต่อไป
รัฐทุ่มแก้ปัญหาผู้ป่วยจิตเวชยาเสพติด ตั้ง ‘มินิธัญญารักษ์’ ทุกจังหวัด แต่อาจยังไม่ตอบโจทย์ปัญหาสุขภาพจิตอย่างรอบด้าน
ปัญหาการอวดอ้างชื่อและล่วงละเมิดผู้รับบริการ เรียกร้องให้ต้องมีการกำกับนักจิตวิทยาการปรึกษา/จิตบำบัด แต่การสร้างมาตรฐานให้การดูแลหัวใจอาจไม่ง่ายอย่างที่คิด
แค่เพิ่มจิตแพทย์ เพิ่มการเข้าถึงบริการ เพียงพอแล้วหรือยังกับการดูแลสุขภาพใจคนไทย นโยบายรัฐต้องคิดถึงอะไรอีกบ้างเพื่อแก้วิกฤต ‘ซึมเศร้า’ ให้ถึงรากปัญหา ติดตามรับฟังในรายการ Policy What!
ชวนสำรวจสถิติการรักษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในประเทศไทยที่นับวันยิ่งเพิ่มสูงขึ้นในทุก ๆ ปี พร้อมทั้งเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เชื่อมโยงหลากหลายมิติ
ความเข้มแข็ง-อ่อนแอในจิตใจคนเราเริ่มขึ้นตั้งแต่เมื่อไหร่ เราฝึกฝนกำหนดใจเราเองได้แค่ไหน? นโยบายของรัฐควรมีบทบาทอย่างไรกับปัจจัยที่เกินการควบคุมของปัจเจกบุคคล?
101 PUB ชวนสำรวจชุดนโยบายสุขภาพจิตฉบับ ‘คิดใหม่ ทำใหม่’ ที่มุ่งถอดรหัสอุปสรรคในการดูแลสุขภาพใจของประชากรไทย และมอบวิธีแก้ไขที่ตรงจุด
Research Roundup 2024 งานเสวนาเปิดตัวงานวิจัยใหม่ 4 ชิ้น ของศูนย์ความรู้นโยบายเด็กและครอบครัว
รัฐบีบคั้นและแทรกแซงความสัมพันธ์ในครอบครัวคนไทยตลอด 10 ปีที่ผ่านมา และยังคงสืบทอดวิธีการเช่นนั้นมากระทั่งภายหลังการเลือกตั้งครั้งล่าสุด
เยียวยาจิตใจด้วยชีวการแพทย์ด้านเดียวอาจไม่พอและไม่ยั่งยืน แต่ทางเลือกอื่น เช่น การพบนักจิตวิทยาการปรึกษาก็ยังเป็นเรื่องยากในประเทศไทย
คนไทยเสี่ยงซึมเศร้ามากขึ้น 3.4 เท่าในช่วงเดือนกรกฎาคม-ตุลาคมของทุกปี นโยบายในปัจจุบันรับมือกับวิกฤตสุขภาพจิตได้แล้วหรือยัง?
สรัช สินธุประมา ร่วมวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางออกแบบระบบดูแลสุขภาพจิตคนไทยใน Policy Forum โดย The Active
101 Public Policy Think Tank
ศูนย์ความรู้นโยบายสาธารณะเพื่อการเปลี่ยนแปลง
ศูนย์วิจัยนโยบายสาธารณะไทยในบริบทโลกใหม่ สร้างสรรค์ความรู้ด้านนโยบายสาธารณะที่มีคุณภาพ เพื่อเพิ่มพลังให้ประชาชนสามารถตัดสินใจอย่างดีที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ในเรื่องสำคัญที่มีความหมายต่อชีวิตส่วนตัว ครอบครัว และสังคม