โลกก้าวไปไว ทำอย่างไรจึงจะแก้คำสาปร้ายให้เยาวชนได้? ร่วมถอดบทเรียนจากวงเสวนา ‘เด็ก ครอบครัว และสังคมไทยใน 30 ปีข้างหน้า ถ้า ‘ไม่แก้’ คำสาป’
หนึ่งในคำถามที่ประชาชนตั้งข้อสงสัยคือ จริงๆ แล้ว สว. ควรมีอำนาจมากน้อยแค่ไหน? 101 PUB ชวนมองหาคำตอบผ่านการสำรวจอำนาจของ สว. ในต่างประเทศ แล้วย้อนกลับมาขบคิดว่าไทยควรปฏิรูปสถาบัน สว. อย่างไร? ในรายการ Policy What!
101 ชวนถอดบทเรียนจากเด็กและเยาวชนที่ ‘ไม่ถูกมองเห็น’ จากสายตาของครูผู้สอน, อดีตสามเณร, ผู้มีประสบการณ์ในการช่วยเหลือกลุ่มเด็กไร้รัฐและไร้สัญชาติ และอาจารย์ด้านเศรษฐศาสตร์
หลังรัฐบาลเตรียมนำข้าวจากโครงการจำนำข้าวออกขาย นโยบายนี้ก็กลับมาเป็นที่สนใจ-ถกเถียงของสังคมอีกครั้ง โฟกัสไปตกอยู่กับเรื่องข้าวเน่า-ขาดทุน-ทุจริต(?) แต่ที่จริงจำนำข้าวและเงินอุดหนุนเกษตรกรแบบเดิมๆ มีปัญหาใหญ่และสำคัญมากกว่านั้น
เคยคิดไหมว่าเราต้องทำงานไปจนถึงอายุเท่าไหร่ จะใช้ชีวิตวัยเกษียณยังไงถ้าไม่พึ่งพาลูกหลาน รัฐจะยังดูแลเราไหวไหมในสังคมที่ผู้สูงวัยมีมากขึ้นทุกที
ใบแดงหนึ่งใบคิดเป็นค่าเสียโอกาสของแรงงานคนหนึ่งถึง 3.4 แสนบาท และเมื่อรวมกันแล้ว การบังคับเกณฑ์ทหารครั้งหนึ่งอาจฉุดรั้งเศรษฐกิจของประเทศเกือบ 7 หมื่นล้านบาท!
คุณภาพชีวิตของเราจะดีขึ้นกว่านี้ได้ไหม? ขึ้นอยู่กับว่าภาษีของเราถูกเอาไปใช้ยังไง งบประมาณกว่าสามล้านล้านบาทต่อปี แท้จริงแล้วรัฐบาลมีอิสระในการบริหารจัดการมากน้อยเพียงใด สะท้อนเจตนารมณ์ของประชาชนได้แค่ไหน
กุมภาแล้ว แต่ยังไม่มีคนกุมมือ เพราะเราไม่มีดวงเรื่องความรัก หรือเป็นเพราะทางเท้าเดินยาก เดินทางลำบาก พื้นที่สาธารณะก็อยู่ไกล และยังมีอีกหลายปัจจัยที่ส่งผลให้คนกรุงเทพ ‘โสด’ มากกว่าที่อื่นๆ
101 Public Policy Think Tank
ศูนย์ความรู้นโยบายสาธารณะเพื่อการเปลี่ยนแปลง
ศูนย์วิจัยนโยบายสาธารณะไทยในบริบทโลกใหม่ สร้างสรรค์ความรู้ด้านนโยบายสาธารณะที่มีคุณภาพ เพื่อเพิ่มพลังให้ประชาชนสามารถตัดสินใจอย่างดีที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ในเรื่องสำคัญที่มีความหมายต่อชีวิตส่วนตัว ครอบครัว และสังคม