วรดร เลิศรัตน์

อ่านสถานการณ์เด็กและครอบครัวไทย 2024: เมื่อกลุ่มชายขอบไม่เคยถูกมองเห็นจากรัฐไทย

อ่านสถานการณ์เด็กและครอบครัวไทย 2024: เมื่อกลุ่มชายขอบไม่เคยถูกมองเห็นจากรัฐไทย

101 ชวนอ่านสรุปความจากรายงานสถานการณ์เด็กและครอบครัว ประจำปี 2024 โดย คิด for คิดส์ ที่เผยภาพสถานการณ์เด็ก เยาวชน และครอบครัวกลุ่มชายขอบและเปราะบาง 4 กลุ่ม คือ เด็กครัวเรือนเกษตร, เด็กจนเมือง, สามเณร และนักเคลื่อนไหวทางการเมือง

11 June 2024
เด็กและครอบครัวไทยที่ไม่ถูกมองเห็น: รายงานสถานการณ์เด็กและครอบครัว ประจำปี 2024

เด็กและครอบครัวไทยที่ไม่ถูกมองเห็น: รายงานสถานการณ์เด็กและครอบครัว ประจำปี 2024

คิด for คิดส์ ชวนอ่าน “เด็กและครอบครัวไทยที่ไม่ถูกมองเห็น: รายงานสถานการณ์เด็กและครอบครัว ประจำปี 2024” พร้อม “สถิติสำคัญด้านเด็กและครอบครัว”

5 June 2024
เด็กและครอบครัวไทยที่ไม่ถูกมองเห็น: รายงานสถานการณ์เด็กและครอบครัว ประจำปี 2024

งานเสวนาสาธารณะ ‘เด็กและครอบครัวไทยที่ไม่ถูกมองเห็น: รายงานสถานการณ์เด็กและครอบครัว ประจำปี 2024’

101 PUB ชวนเข้าร่วมรับฟังการแถลงรายงานสถานการณ์เด็กและครอบครัว ประจำปี 2024 ‘เด็กและครอบครัวไทยที่ไม่ถูกมองเห็น’ พร้อมรับฟังเสวนา-เข้าใจปัญหาเด็กและครอบครัวกลุ่มเปราะบาง หาทางยกระดับคุณภาพชีวิต-เติมฝันพวกเขาอย่างดีที่สุด

24 May 2024
'จำนำข้าว-อุดหนุนเกษตร' แบบเก่า สร้างปัญหามากกว่าข้าวเน่า(?)

Policy What! EP.7: จำนำข้าว-อุดหนุนเกษตร’ แบบเก่า สร้างปัญหามากกว่าข้าวเน่า(?)

หลังรัฐบาลเตรียมนำข้าวจากโครงการจำนำข้าวออกขาย นโยบายนี้ก็กลับมาเป็นที่สนใจ-ถกเถียงของสังคมอีกครั้ง โฟกัสไปตกอยู่กับเรื่องข้าวเน่า-ขาดทุน-ทุจริต(?) แต่ที่จริงจำนำข้าวและเงินอุดหนุนเกษตรกรแบบเดิมๆ มีปัญหาใหญ่และสำคัญมากกว่านั้น

ประชามติแบบใดให้พัง: บทเรียนจากต่างประเทศ

ประชามติแบบใดให้พัง: บทเรียนจากต่างประเทศ

101 PUB ชวนสำรวจประชามติในต่างประเทศ ซึ่งเคย ‘พัง’ มาก่อน ถอดบทเรียนกลับมาปรับใช้กับ ‘ประชามติจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่’ ของไทยไม่ให้พังตามกันไป

Policy What! EP.5: ทำอย่างไรให้ ‘เบี้ยสูงอายุ’ ถ้วนหน้าได้ ยั่งยืนด้วย

เคยคิดไหมว่าเราต้องทำงานไปจนถึงอายุเท่าไหร่ จะใช้ชีวิตวัยเกษียณยังไงถ้าไม่พึ่งพาลูกหลาน รัฐจะยังดูแลเราไหวไหมในสังคมที่ผู้สูงวัยมีมากขึ้นทุกที

ปากท้องดี-มีประชาธิปไตย: สองโจทย์ที่สังคมไทยไม่ต้องเลือก

ปากท้องดี-มีประชาธิปไตย: สองโจทย์ที่สังคมไทยไม่ต้องเลือก

ปากท้อง กับ ประชาธิปไตย เป็น ‘ทางแพร่ง’ ที่เราต้องเลือกจริงหรือไม่? 101 PUB ชวนสำรวจคำอธิบายว่า ประชาธิปไตยเป็นเงื่อนไขในการเติมเต็มปากท้องและความฝันของประชาชนอย่างไร?

Policy What! EP.3: #ภาษีกู รัฐบาลตั้งงบไปใช้ยังไง? 

คุณภาพชีวิตของเราจะดีขึ้นกว่านี้ได้ไหม? ขึ้นอยู่กับว่าภาษีของเราถูกเอาไปใช้ยังไง งบประมาณกว่าสามล้านล้านบาทต่อปี แท้จริงแล้วรัฐบาลมีอิสระในการบริหารจัดการมากน้อยเพียงใด สะท้อนเจตนารมณ์ของประชาชนได้แค่ไหน

การเงินการธนาคาร: 10 ปี ราคาบ้าน พุ่ง 74% คนไทยเข้าไม่ถึงอสังหากลางเมือง

การเงินการธนาคาร: 10 ปี ราคาบ้าน พุ่ง 74% คนไทยเข้าไม่ถึงอสังหากลางเมือง

101 PUB ชวนอ่านบทความสรุปประเด็นจาก 101 PUB Policy Insights – บ้าน(เช่า)มั่นคงสำหรับทุกคน: ทางแก้ปัญหาที่อยู่อาศัยในเขตเมือง ทาง การเงินการธนาคาร

วิทยุรัฐสภา: กับดักเก่า VS ความเป็นไปได้ใหม่ ออกแบบรัฐธรรมนูญอย่างไรให้ประชาธิปไตยกินได้

วิทยุรัฐสภา: กับดักเก่า VS ความเป็นไปได้ใหม่ ออกแบบรัฐธรรมนูญอย่างไรให้ประชาธิปไตยกินได้

101 PUB ชวนฟัง วรดร เลิศรัตน์ เล่าถึงงานเสวนา ‘กับดักเก่า VS ความเป็นไปได้ใหม่ ออกแบบรัฐธรรมนูญอย่างไรให้ประชาธิปไตยกินได้’ ทางวิทยุรัฐสภา

BBC Thai: ประสบการณ์วันรัฐประหาร-กับดักรัฐธรรมนูญ 60 ในสายตา ธนาธร-ชูศักดิ์-นักวิชาการ

BBC Thai: ประสบการณ์วันรัฐประหาร-กับดักรัฐธรรมนูญ 60 ในสายตา ธนาธร-ชูศักดิ์-นักวิชาการ

101 PUB ชวนอ่านบทความสรุปประเด็นจากงานเสวนา ‘กับดักเก่า VS ความเป็นไปได้ใหม่ ออกแบบรัฐธรรมนูญอย่างไรให้ประชาธิปไตยกินได้’ ทาง BBC Thai

9 March 2024

กับดักเก่า VS ความเป็นไปได้ใหม่ ออกแบบรัฐธรรมนูญอย่างไรให้ประชาธิปไตยกินได้

Center for International Private Enterprise และ 101 PUB ชวนสำรวจปัญหา-แนวทางปฏิรูปรัฐธรรมนูญให้เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต-เติมเต็มความฝันของเรา ใน LIVE เสวนา ‘กับดักเก่า VS ความเป็นไปได้ใหม่ – ออกแบบรัฐธรรมนูญอย่างไรให้ประชาธิปไตยกินได้?’

27 February 2024

101 Public Policy Think Tank
ศูนย์ความรู้นโยบายสาธารณะเพื่อการเปลี่ยนแปลง

ศูนย์วิจัยนโยบายสาธารณะไทยในบริบทโลกใหม่ สร้างสรรค์ความรู้ด้านนโยบายสาธารณะที่มีคุณภาพ เพื่อเพิ่มพลังให้ประชาชนสามารถตัดสินใจอย่างดีที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ในเรื่องสำคัญที่มีความหมายต่อชีวิตส่วนตัว ครอบครัว และสังคม

Copyright © 2024 101pub.org | All rights reserved.