งบประมาณรายจ่ายของประเทศไทยกว่า 2 ใน 3 ไม่สามารถนำมาบริหารได้อย่างยืดหยุ่นและส่งผลต่อการดำเนินนโยบาย รัฐบาลต้องทำอย่างไรเพื่อให้สามารถบริหารเงินในมือได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เบี้ยผู้สูงอายุควรเป็นหลักประกันพื้นฐานในการดำรงชีวิตเมื่อถึงวัยชรา แต่เบี้ยผู้สูงอายุในไทยยังไม่สามารถทำให้ผู้สูงอายุบางส่วนพ้นจากเส้นความยากจนได้ รัฐควรจัดการเบี้ยผู้สูงอายุอย่างไรให้ทั่วถึง เพียงพอ และไม่เป็นภาระทางการคลัง
กระบวนการยุติธรรมไทยยังเหลื่อมล้ำ-เลือกปฏิบัติสูง ฐานะทางเศรษฐกิจและตำแหน่งหน้าที่การงานกลายเป็นอภิสิทธิ์ที่ทำให้คนไม่เสมอหน้ากันต่อหน้ากฎหมาย
เงินนอกงบฯ ถูกตั้งคำถามถึงความโปร่งใสรวมถึงวัตถุประสงค์ เนื่องจากไม่ได้รับการตรวจสอบจากทั้งสภาฯ และประชาชน และถูกนำไปใช้ในกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานเจ้าของเงิน
ปัญหาโทษอาญาเฟ้อ คดีล้นศาล และคนล้นคุก เป็นสิ่งที่ต้องเร่งแก้ไขเพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมของไทย
งบประมาณเพื่อการสนับสนุนเด็กเล็กเช่นในปัจจุบันอาจไม่เพียงพอต่อการตอบโจทย์ใหญ่ของรัฐบาลในเรื่องของการเพิ่มจำนวนและพัฒนาศักยภาพของเด็กไทย
นโยบายอุดหนุนเกษตรและวิธีการจัดการของรัฐสร้างหนี้พอกหางหมูขึ้นเรื่อยๆ รัฐต้องดำเนินนโยบายอย่างไรให้สามารถอุดหนุนเกษตรกรได้โดยไม่ก่อหนี้ระยะยาว
ดูแลข้าราชการและครอบครัว 5 ล้านคนใช้งบสวัสดิการเท่าประชาชนทั่วประเทศ หากต้องการจะทำให้สวัสดิการของประชาชนครอบคลุมและมีประสิทธิภาพควรจัดการอย่างไร?
เอกสารงบประมาณแผ่นดินไทย รายละเอียดมาก ซับซ้อนและตรวจสอบยาก ต้องทำอย่างไรให้ประชาชนเข้าใจง่ายขึ้น?
เกณฑ์วัดคุณภาพอากาศของไทยยังไม่ได้มาตรฐานสากล ส่งผลให้มองเห็นปัญหาไม่ชัดและแก้ได้ไม่ตรงจุด
หลังการควบรวม ผู้ใช้บริการโทรศัพท์มือถือได้ใช้งานในราคาถูกลง? คุณภาพสัญญาณดีขึ้น? เป็นไปตามเงื่อนไขที่กสทช. วางไว้หรือไม่?
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของภาครัฐไทย ประเมินจากอะไรและสะท้อนความเป็นจริงแค่ไหน?
101 Public Policy Think Tank
ศูนย์ความรู้นโยบายสาธารณะเพื่อการเปลี่ยนแปลง
ศูนย์วิจัยนโยบายสาธารณะไทยในบริบทโลกใหม่ สร้างสรรค์ความรู้ด้านนโยบายสาธารณะที่มีคุณภาพ เพื่อเพิ่มพลังให้ประชาชนสามารถตัดสินใจอย่างดีที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ในเรื่องสำคัญที่มีความหมายต่อชีวิตส่วนตัว ครอบครัว และสังคม