ชวนสำรวจการเข้ามาของสินค้าจีนราคาถูกที่อาจสะท้อนปัญหาของเศรษฐกิจไทยที่ใหญ่กว่าที่หลายคนคิด การยกระดับกำแพงภาษีเพื่อคุ้มครองผู้ผลิตไทยจะช่วยแก้ปัญหาหรือไม่? แล้วทางออกของประเทศไทยในระยะยาวอยู่ที่ไหน?
เลือกตั้ง อบจ. ผ่านไป เลือกตั้งเทศบาลครั้งใหม่ก็มาอีกแล้ว! สำหรับคนไกลบ้าน การไปใช้สิทธิเลือกตั้งท้องถิ่นแต่ละครั้งอาจหมายถึงการสูญเสียรายได้และเวลา เพียงเพื่อไปเลือกคนที่ไม่ได้มาดูแลชีวิตเราซึ่งทำงานอยู่ในเมืองอื่น ทำยังไงให้การเลือกตั้งท้องถิ่นมีความหมายและคุ้มค่า ชวนติดตามในรายการ Policy What!
อัตราการใช้สิทธิเลือกตั้ง อบจ. ที่ไม่สูงมากนักกำลังบอกอะไร? และจะถอดบทเรียนจากการเลือกตั้ง อบจ. อย่างไร 101 PUB ชวนตั้งคำถามเพื่อเพิ่ม ‘ความคุ้มค่า’ ในการมีส่วนร่วมใช้สิทธิเสียงของประชาชนว่า จะสามารถ ‘ส่งเสียง’ ในการเลือกตั้งระดับท้องถิ่นอย่างสะดวกและมีควาหมายมากกว่าเดิมได้อย่างไร
ชวนผู้อ่าน ‘คิดใหม่’ เกี่ยวกับค่าจ้างขั้นต่ำของไทย เพื่อให้สอดคล้องกับการดำรงชีพแท้จริงของแรงงาน เพิ่มความเป็นธรรมของแรงงานค่าจ้างขั้นต่ำด้วยแนวคิดค่าจ้างเพื่อชีวิต (Living Wage)
นโยบายปราบปรามแก๊งคอลเซ็นเตอร์บริเวณชายแดนสร้างผลกระทบเชิงพื้นที่อย่างไร 101 PUB ชวนสำรวจระบบนิเวศชายแดนและแนวทางบริหารกิจการชายแดนอย่างสมดุลระหว่างความมั่นคง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม เพื่อให้คนชายแดนอยู่ได้ มิจฉาชีพอยู่ยาก
ชวนประเมินร่างกฎหมายศูนย์กลางทางการเงิน ไทยก้าวขึ้นเป็นผู้เล่นด้านการเงินระดับโลกได้หรือไม่ ต้องทำอย่างไรให้ดียิ่งขึ้น
ต้นเดือนที่ผ่านมา (เม.ย. 2025) รัฐบาลสหรัฐอเมริกาประกาศขึ้นอัตราภาษีศุลกากรกับสินค้านำเข้าจากต่างประเทศ จุดฉนวนสงครามการค้ารอบใหม่ หนึ่งในผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นคือ สินค้าจีนอาจหลั่งไหลเข้ามาในประเทศไทยมากกว่าเดิม ไม่ใช่ว่าการนำเข้าสินค้าจากจีนหรือต่างประเทศเป็นเรื่องไม่ดี แต่ทุกวันนี้ สินค้าจีนไม่ได้เข้ามาแข่งขันกับสินค้าไทยอย่าง ‘เป็นธรรม’ จนอาจส่งผลเสียต่อธุรกิจ เศรษฐกิจ และสังคมไทยในระยะยาว ชวนพูดคุยในรายการ Policy What!
ชวนทำความเข้าใจสูตรการคำนวณเงินเกษียณของประกันสังคมใหม่ ที่กำลังเป็นถกเถียงถึงความคุ้มค่าในกลุ่มผู้ประกันตนมาตรา 39
ชวนสำรวจสถานะของกองทุนประกันสังคม ทั้งด้านงบประมาณและการลงทุน ที่ยังเป็นที่น่ากังขาในกลุ่มผู้ประกันตนจนถึงปัจจุบัน
ชวนสำรวจความ(ไม่)พร้อมดูแลเด็กเล็กของครัวเรือนไทย ผ่านข้อมูลการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2566
ชวนสำรวจการทำงานและประสิทธิภาพของกลไก ‘คณะกรรมการ’ ขับเคลื่อนระดับชาติ และภาครัฐต้องปรับเรื่องนี้อย่างไรเพื่อให้ทำงานได้คล่องตัวมากขึ้น
After Shock ที่สั่นสะเทือนสังคมไทยหลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2025 คือความไม่วางใจต่อความโปร่งใสของภาครัฐและการตั้งคำถามถึงองค์กรอิสระที่ทำงานตรวจสอบถ่วงดุลอย่างกว้างขวาง เราใช้เงินไปกับการสร้างเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสกันแบบไหน ทำไมดัชนีคอรัปชันไทยถึงตกต่ำลงที่สุดในรอบสิบปี ติดตามใน Policy What!
101 Public Policy Think Tank
ศูนย์ความรู้นโยบายสาธารณะเพื่อการเปลี่ยนแปลง
ศูนย์วิจัยนโยบายสาธารณะไทยในบริบทโลกใหม่ สร้างสรรค์ความรู้ด้านนโยบายสาธารณะที่มีคุณภาพ เพื่อเพิ่มพลังให้ประชาชนสามารถตัดสินใจอย่างดีที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ในเรื่องสำคัญที่มีความหมายต่อชีวิตส่วนตัว ครอบครัว และสังคม