ภายหลังจากที่ตรวจพบสารพิษตกค้างในองุ่นไชน์มัสแคท คนไทยต่างกังวลต่อความปลอดภัยของอาหารที่บริโภคกันทุกวัน สิ่งนี้นำมาสู่คำถามว่าระบบการตรวจคุณภาพอาหารตามท้องตลาดของไทยมีข้อบกพร่องอย่างไร? และจะทำอย่างไรที่จะยกระดับอาหารในประเทศไทยให้ปลอดภัยขึ้น?
ปัญหาการอวดอ้างชื่อและล่วงละเมิดผู้รับบริการ เรียกร้องให้ต้องมีการกำกับนักจิตวิทยาการปรึกษา/จิตบำบัด แต่การสร้างมาตรฐานให้การดูแลหัวใจอาจไม่ง่ายอย่างที่คิด
แค่เพิ่มจิตแพทย์ เพิ่มการเข้าถึงบริการ เพียงพอแล้วหรือยังกับการดูแลสุขภาพใจคนไทย นโยบายรัฐต้องคิดถึงอะไรอีกบ้างเพื่อแก้วิกฤต ‘ซึมเศร้า’ ให้ถึงรากปัญหา ติดตามรับฟังในรายการ Policy What!
ความเข้มแข็ง-อ่อนแอในจิตใจคนเราเริ่มขึ้นตั้งแต่เมื่อไหร่ เราฝึกฝนกำหนดใจเราเองได้แค่ไหน? นโยบายของรัฐควรมีบทบาทอย่างไรกับปัจจัยที่เกินการควบคุมของปัจเจกบุคคล?
นโยบาย OFOS อัปสกิลแรงงาน 20 ล้านครัวเรือน เมื่อเทียบกับนโยบาย ‘เรือธง’ ด้านการพัฒนาทักษะแรงงานของเพื่อนบ้านอย่างอินโดนีเซียและสิงค์โปร์ ไทยจะ upskill – reskill แรงงานสู้เขาได้ไหม?
ไทยจัดสรรงบประมาณสำหรับบริหารจัดการน้ำกว่าหนึ่งแสนล้านบาทต่อปี ทว่าเมื่อเข้าฤดูฝนครั้งใดก็ปรากฎว่ายังคงเกิดอุทกภัยบ่อยครั้ง ชวนให้ตั้งคำถามว่าขณะที่น้ำไหลอยู่ที่นั่น งบประมาณไหลไปที่ไหน?
เศรษฐกิจวูบ หนี้ครัวเรือนพุ่ง ‘ดิจิทัลวอลเล็ต’ จะเป็นความหวังช่วยกู้สถานการณ์ได้จริงไหม? นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจ อัดฉีดเงินเข้าระบบจะได้ผลแค่ไหนในเงื่อนไขปัจจุบัน? 101 PUB ประเมินนโยบายให้ฟังในรายการ Policy What!
เด็กไทยหลุดจากระบบการศึกษา 1 ล้านคน ปัญหารุนแรงที่สุดในพื้นที่ชายแดนติดเทือกเขาสูง และในใจกลางเมืองหลวงของประเทศ
‘ปากท้อง’ กับ ‘ประชาธิปไตย’ คนไทยต้องเลือกอย่างใดอย่างหนึ่งจริงหรือ? นโยบายด้านเศรษฐกิจกับอุดมการณ์ทางการเมืองไปด้วยกันเลยได้ไหม การปฏิรูปการเมือง/ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ เกี่ยวอะไรกับปากท้องและความเป็นอยู่ของเรา
101 ชวนอ่านสรุปความจากรายงานสถานการณ์เด็กและครอบครัว ประจำปี 2024 โดย คิด for คิดส์ ที่เผยภาพสถานการณ์เด็ก เยาวชน และครอบครัวกลุ่มชายขอบและเปราะบาง 4 กลุ่ม คือ เด็กครัวเรือนเกษตร, เด็กจนเมือง, สามเณร และนักเคลื่อนไหวทางการเมือง
คิด for คิดส์ ชวนอ่าน “เด็กและครอบครัวไทยที่ไม่ถูกมองเห็น: รายงานสถานการณ์เด็กและครอบครัว ประจำปี 2024” พร้อม “สถิติสำคัญด้านเด็กและครอบครัว”
กากแคดเมียมกลางกรุงเทพ ไฟไหม้โรงงานสารเคมี และอีกหลายข่าวมลพิษอุตสาหกรรมที่มีให้เห็นบ่อยครั้ง ชวนให้ต้องตั้งคำถามว่าการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมหรือ EIA ที่ใช้กันอยู่ในไทยนั้นมีกลไกการทำงานอย่างไร ควบคุมผลกระทบได้จริงไหม หรือเป็นเพียงเสือกระดาษของวงการสิ่งแวดล้อม ทำอย่างไรจึงจะอุดรูรั่วสารเคมีได้จริง
101 Public Policy Think Tank
ศูนย์ความรู้นโยบายสาธารณะเพื่อการเปลี่ยนแปลง
ศูนย์วิจัยนโยบายสาธารณะไทยในบริบทโลกใหม่ สร้างสรรค์ความรู้ด้านนโยบายสาธารณะที่มีคุณภาพ เพื่อเพิ่มพลังให้ประชาชนสามารถตัดสินใจอย่างดีที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ในเรื่องสำคัญที่มีความหมายต่อชีวิตส่วนตัว ครอบครัว และสังคม